ข้อเสนอ หลักกฎหมายมหาชน (หลักนิติธรรม นิติรัฐ ในฐานะ เกณฑ์ จำกัดอำนาจรัฐ) บรรเจิด สิงคะเนติ

ยินดีต้อนรับสู่ checkcheck-th.com เว็บไซต์เปรียบเทียบสินค้าบนอินเตอร์เน็ต

หลักกฎหมายมหาชน (หลักนิติธรรม นิติรัฐ ในฐานะ เกณฑ์ จำกัดอำนาจรัฐ) บรรเจิด สิงคะเนติ

จำหน่ายโดยร้านค้า : attorney285
บนแพลตฟอร์ม : Shopee

เพียง ฿198 ฿220
  • จัดจำหน่ายโดยร้านค้า ร้านหนังสือ Attorney285 บน Shopee
  • จัดส่งจากเขตบางกะปิ, จังหวัดกรุงเทพมหานคร
  • จำนวนผู้ติดตามร้านค้า 48,450
  • คะแนนร้านค้า 4.9/5 คะแนน


รายละเอียดของสินค้า หลักกฎหมายมหาชน (หลักนิติธรรม นิติรัฐ ในฐานะ เกณฑ์ จำกัดอำนาจรัฐ) บรรเจิด สิงคะเนติ

หลักกฎหมายมหาชน (หลักนิติธรรม นิติรัฐ ในฐานะ เกณฑ์ จำกัดอำนาจรัฐ) บรรเจิด สิงคะเนติ
ผู้แต่ง : บรรเจิด สิงคะเนติ
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 3 : ธันวาคม 2564
จำนวนหน้า: 248 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786165810968
คำนำ
หนังสือ "หลักกฎหมายมหาชน หลักนิดิธรรมนิติรัฐ ในฐานะ "เกณฑ์" จำกัดอำนาจ
รัฐ" เล่มนี้ เขียนขึ้นโดยมีมูลเหตุญิงใจ 2 ประการ คือ ประการแรก ผู้เขียนต้องรับผิดชอบในการ
บรรยายวิชาหลักทฤษฎีกฎหมายมหาชน ที่คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ แต่โดย
ที่ยังไม่มีตำราที่รวบรวมอย่างเป็นระบบ ประการที่สอง โดยที่รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ของไทย
ได้เน้นย้ำถึง "หลักนิติธรรม" มากขึ้นกว่าฉบับที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีการบัญญัติว่า การตรา
กฎหมาขจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลจะขัดต่อ "หลักนิติธรรม" มิได้ จากเหตุผลทั้งสองประการ
คังกล่าว ผู้เขียนเห็นว่า หลักกฎหมายมหาชน ในส่วนที่เชื่อมโยงกับหลักนิดิธรรม/นิติรัฐยังไม่มี
การเขียนไว้อย่างเป็นระบบ จึงถือว่าเป็น โอกาสที่สมควรจะได้รวบรวมและเขียนถึงหลักคังกล่าว
หนังสือ "หลักกฎหมายมหาชน หลักนิดิธรรม/นิติรัฐ ในฐานะ "เกณฑ์" จำกัดอำนาง
รัฐ" เล่มนี้ ผู้เขียนมิได้เขียนขึ้นใหม่ทั้งหมด แต่เป็นการรวบรวมหลักกฎหมายมทาชน โดยเฉพาะ
หลักนิดิธรรม/นิติรัฐ ที่ผู้เขียนได้เคยเขียนไว้แต่กระจัดกระจายในหนังสือต่างๆ โดยนำมาเขียนใหม
ในฐานะที่เป็นหลักกฎหมายมหาชน โคยการจำแนกแยกแยะหลักนิติธรรม/นิติรัฐออกตามภารกิ
ของรัฐแต่ละการกิจว่ามีข้อจำกัดจากหลักนิดิธรรมนิติรัฐอย่างไร และในบทที่ 9 ได้กล่าวถึงการ
นำหลักกฎหมายมหาชนเข้ามาใช้ในระบบกฎหมายไทยโดยสรุป
หลักกฎหมาขมหาชน โคยเฉพาะที่เกี่ยวกับหลักนิดิธรรม/นิติรัฐ ในฐานะ "เกณฑ์"
จำกัดอำนาจรัฐ จึงเป็นหลักกฎหมายที่มีบทบาทสำคัญในระบบกฎหมายไทย การรวบรวมหลัก
คังกล่าว รวมถึงแนวทางการนำไปใช้บังคับจึงน่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหลักกฎหมาย
มหาชนของไทยในอนาคต
บรรเจิด สิงคะเนติ
2 พฤษภาคม 2560
คำนำ
(พิมพ์ครั้งที่ 3)
ในการพิมพ์แก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 3 นี้มีการเพิ่มเดิมในเรื่องที่สำคัญ 2 เรื่องคือมีการเ
ต่างประเทศโดยมีการกล่าวถึงหลัก The Rule of Law ของอังกฤม das Rechtsstaatsprinzip
ของยอรมนี หลัก due process of Iaw ของสหรัฐอมริกา และหลัก Etat de droit ของฝรั่und
เพื่อให้ความแดกด่างของหลักเหล่านี้ในแต่ละประเทศ นอกจากนั้นส่วนสำคัญที่มีการเพิ่มเดิม
อีกส่วนหนึ่งคือ การบัญญัติ "หลักนิดิธรรม" ในระบบกฎหมายไทย เพื่อให้เห็นว่าการบัญญัติถึง
"หลักนิติธรรม" ในรัฐธรรมนูญไทยมีความเป็นมาอย่างไรและปัจจุบันเป็นอย่างไร
ผู้เขียนขอขอบพระดุณสำนักพิมพัวิญญูชที่เป็นสื่อกลางในการจัดพิมพ์หนังสือและกระจาย
ไปชังสารารณชนที่สนใจในเรื่องที่กี่ยวกับกฎหมายมาโดยตลอด
บรรเจิด สิงคะเนติ
1 พฤศจิกายน 2564
สารบาญ
บทที่ 1 หลักพื้นฐานของรัฐเสรีประชาธิปไตย.
1.1 สาระสำคัญของหลักพื้นฐานของรัฐเสรีประชาธิปไตย
1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างหลักประชาธิปไตยกับหลักนิติรัฐ
บทที่ 2 หลักนิติธรรม/นิติรัฐของต่างประเทศ
2.1 The Rule of Law ของอังกฤษ
2.2 das Rechtsstaatsprinzip ของเยอรมนี
2.3 Etat de droit ของฝรั่งเศส
2.4 due process of law ของสหรัฐอเมริกา
บทที่ 3 "หลักนิดิธรรม/นิติรัฐ" ในฐานะข้อจำกัดการใช้อำนาจรัฐ..
3.1 ความหมายของ "หลักนิติธรรม/นิติรัฐ" ในฐานะข้อจำกัดของ
การใช้อำนาจรัฐ
3.2 สถานะของ "หลักนิติธรรม/นิติรัฐ"
3.3 "หลักนิติธรรม/นิติรัฐ" กับ ในฐานะ "เกณฑ์" ที่ผูกพันหรือเป็น
ข้อจำกัดของการใช้อำนาจรัฐ
3.4 ผลของการละเมิดหลักนิติธรรม/นิติรัฐ
บทที่ 4 หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ.
4.1 หลักว่าด้วยความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
4.2 หลักการคุ้มครองความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
4.3 หลักการควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย
4.4 แนวคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
บทที่ 5 หลักนิดิธรรม/นิติรัฐในฐานะที่เป็น "เกณฑ์"
ในการจัดองค์กรของรัฐ.
5.1 หลักการแบ่งแยกอำนาจ
5.2 หลักความเป็นอิสระขององค์กรตุลาการ
5.3 หลักห้ามมิให้จัดตั้งศาลพิเศษ
บทที่ 6 หลักนิติธรรม/นิติรัฐในฐานะที่เป็น "เกณฑ์"
ในการคุ้มครองสิทธิของประชาชน.....
6.1 หลักการเคารพต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
6.2 หลักความผูกพันโดยครงต่อสิทธิเสรีภาพขององค์กรผู้ใช้อำนาจฐ
6.3 หลักการคุ้มครองสิทธิและเสริภาพใคยองค์กรตุลาการ
6.4 หลักความเสมอภาค และหลักห้ามมิให้เลือกปฏิบัติ
6.5 หลักการคุ้มครองสิทธิของบุคคลในกระบวนพิจารณา
บทที่ 7 หลักนิดิธรรม/นิติรัฐในฐานะที่เป็น "เกณฑ์"
ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ.
7.1 หลักความผูกพันต่อกฎหมายขององค์กรของรัฐ
7,2 หลักการกระทำทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย
7.3 หลักความผูกพันต่อกฎหมายของฝ่ายดูลาการ
7.4 หลักความรับผิดของรัฐ
8 หลักนิติธรรม/นิติรัฐในฐานะที่เป็น "เกณฑ์"
ในการตรากฎหมาย...................
8.1 หลักการจำกัดสิทธิและเรีภาพกระทำได้แต่โดยอาศัยอำนาจ
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
8.2 หลักการจำกัดสิทธิและเสรีภาพต้องมีผลเป็นการทั่วไป
8.3 หลักการระบุบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่ให้อำนาจในการตรา
กฎหมายจำกัดสิทธิ
8.4 หลักความได้สัดส่วนหรือหลักความพอสมควรแก่เทตุ
8.5 หลักความมั่นคงของกฎหมาย
8.6 หลักห้ามมิให้กฎหมายมีผลย้อนหลัง
บทที่
9 หลักนิติธรรม/นิติรัฐในฐานะที่เป็น "เกณฑ์"
เกี่ยวกับโทษทางอาญาและความรับผิดทางอาญา..
9.1 หลักไม่มีความผิด และไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย
9.2 หลักการห้ามลงโทษช้ำ
9.3 หลักการรับผิดต่อการกระทำของตนที่เป็น "ความชั่วร้าย"
9.4 หลักข้อสันนิพฐานเกี่ยวกับความเป็นผู้บริสุทธิ์
9.5 หลักการห้ามการบังคับให้กล่าวร้ายตนเอง
9.6 หลักการยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้แก่จำเลย
บทที่ 10 การนำหลักกฎหมายมหาชนมาใช้ในระบบกฎหมายไทย
10.1 ช่วงก่อนที่จะมีศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครอง (พ.ศ. 2475 - 2540)
10.1.1 หลักกฎหมายมหาชนในระดับรัฐธรรมนูญ
10.1.2 หลักกฎหมายมหาชนในระดับกฎหมายปกครอง
10.2 ช่วงภายหลังจากที่มีศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองแล้ว
(พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน)
10.2.1 หลักกฎหมายมหาชนตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
10.2.2 หลักกฎหมายมหาชนตามคำพิพากษาศาลปกครอง
10.3 การบัญญัติ "หลักนิติธรรม" ในรัฐธรรมนูญ



ข้อมูลสินค้า รายละเอียดสินค้าและรูปภาพสินค้าจากร้าน attorney285 บนช้อปปี้ ก่อนการตัดสินใจซื้อสินค้า กรุณาตรวจสอบรายละเอียดสินค้าให้แน่ใจอีกครั้งในช่องทางการสั่งซื้อของผู้ขายเนื่องจากข้อมูลสินค้ารวมถึงรูปภาพสินค้าภายในเว็บไซต์นี้อาจล้าสมัยไม่อัพเดทในช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งผู้ขายอาจมีการปรับเปลี่ยนเงื่อนไขของสินค้าหรือข้อเสนอต่าง ๆ ไปได้ เงื่อนไขและข้อกำหนดในการคุ้มครองเมื่อสั่งซื้อสินค้าเป็นไปตามเงื่อนไขของแพลตฟอร์มนั้น ๆ เมื่อทำรายการสั่งซื้อ